Web Blog การเรียนรู้ทักษะที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ประกอบการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ (สาระเพิ่ม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ส 22102 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ส 23102 ครูชาญวิทย์ ปรีชาพาณิชพัฒนา ในการฝึกทักษะเรียนรู้พื้นฐาน การจัดการความรู้ ทักษะภาษาดิจิตอล ทักษะการรู้คิดประดิษฐ์สร้าง ทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ การสื่อสารที่มีประสิทธิผล ทักษะการสืบค้น ฯลฯ เพื่อพัฒนาไปสู่ทักษะความรู้ที่มุ่งหวังของหลักสูตร โรงเรียนมาตรฐานสากล 6 ประการ ประกอบด้วย (1) ทักษะการเรียนรู้ Learning Skills (2) ทักษะการคิด Thinking Skills (3) ทักษะการแก้ปัญหา Problerm Skills (4) ทักษะชีวิต Life Skills (5) ทักษะการใช้เทคโนโลยี Technology Skills (6) ทักษะการสื่อสาร Communication Skills ทฤษฎีระบบการเรียน KM (Knowlead Maneagement) โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ประกอบการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ คุณครูชาญวิทย์ ปรีชาพาณิชพัฒนา(Word Class Standard)
ยินดีต้อนรับ เข้าสู่ บล็อกของ Chaiwat Yaipet
ครูเกษียณอายุราชการ2558
ข่าวสารทั่วไป
24โดย : admin
24/ส.ค./2558
2 stars ( 2 / 12 )
ประกาศผลการสอบวัดความรู้ทางวิทยาศาสตร์ SPK SCIENCE TEST ครั้งที่ 4 ( 2046 / )
ประกาศผลสอบวัดความรู้ทางวิทยาศาสตร์ SPK SCIENCE TEST ครั้งที่ 4 อ่านต่อ....
12โดย : admin
12/ส.ค./2558
4.5 stars ( 4.5 / 9 )
ค้นหารายชื่อนักเรียน ( 479 / )
ค้นหาชื่อนักเรียน อ่านต่อ....
ภาพกิจกรรมใหม่ล่าสุด
รวมภาพกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ประจำปีการศึกษา 2558
ข่าวการศึกษา
ข่าวครูบ้านนอก

กระดานถามตอบ


หัวข้อ (อ่าน/ตอบ)
โดย
วันที่
00004 : แนะแนวฟรี เทคนิคเรียนเก่งและสอบติวโควตา มข. (102/0)
BELL THEACT
1 ก.ย. 2558 : 00:18
00003 : จากผู้พัฒนาเว็บไซต์ รูปภาพ (187/0)
admin
23 ก.ค. 2558 : 16:11



วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2558

สัปดาห์ที่ 4 การตีความหลักฐาน

การตีความหลักฐาน

การตีความหลักฐาน คือ การพยายามเข้าใจความหมายของข้อสนเทศที่ปรากฎอยู่ในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ซึ่งความหมายของข้อสนเทศที่ปรากฎอยู่ในหลักฐานนั้นจะมีอยู่ 2 ระดับด้วยกัน คือ 

• ความหมายตามตัวอักษรหรือความหมายตามรูปภายนอก ผู้ศึกษาต้องแน่ใจว่าหลักฐานที่ตนใช้นั้นมีความหมายตรงไปตรงมาว่าอย่างไร ดังตัวอย่างของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ประติมากรรมที่ค้นพบในประเทศไทย ผู้ศึกษาจะต้องรู้ว่าเป็นรูปของพระพุทธรูปหรือรูปพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนา หรือเป็นรูปของเทพเจ้าในศาสนาฮินดู 

• ความหมายที่แท้จริง หลักฐานทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษรและที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ยังมีความหมายอื่น ซึ่งเป็นความหมายตามเจตนารมณ์ของผู้สร้างหลักฐานแฝงอยู่ด้วย ดังเช่น จารึกที่เป็นการบันทึกการทำบุญของกษัตริย์ นอกจากจะมีเจตนารมณ์ที่จะบรรยายการทำบุญสร้างวัดใดวัดหนึ่งของกษัตริย์แล้ว อาจจะยังมีเจตนารมณ์ที่จะประกาศบุญญาอภินิหารของผู้สร้างที่ไม่มีผู้ใดเทียบเทียมได้ หรือว่าเทวรูปที่สร้างขึ้นเนื่องในศาสนาฮินดูนั้น อาจไม่ได้เป็นเพียงรูปเคารพในศาสนาเพียงอย่างเดียว แต่เป็นภาพจำลองของกษัตริย์ที่ลวงลับไปแล้วเป็นต้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น